5 เหตุผล ที่ทำให้แฟลชไดร์ฟ เป็นแก็ดเจ็ตจัดเก็บข้อมูลที่ไม่เลือนหายไปตามยุคสมัย
เมื่อพูดถึงอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลเสริมสำหรับใช้งานควบคู่กับอุปกรณ์ไอที เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ แล็ปท็อป แน่นอนว่าผู้ใช้งานหลายคนคงพอจะได้เห็นไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลง และการเลือนหายไปของแก็ดเจ็ตหลาย ๆตัวตลอดหลายปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแก็ดเจ็ตจัดเก็บข้อมูลที่เราคุ้นเคยกันในช่วงยุค 2000’s เช่น แผ่น Floppy Disk แผ่น CD, VCD, DVD จะเห็นได้ว่าปัจจุบันแก็ดเจ็ตเหล่านี้ได้เลือนหายไปตามกาลเวลาอย่างสมบูรณ์แล้ว
เหตุผลที่ไม่ควรใช้งานแฟลชไดร์ฟร่วมกับผู้อื่น
อย่างที่ทราบกันดีว่าในการใช้งานอุปกรณ์ไอที เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ แล็ปท็อป แท็บเล็ต สำหรับกิจกรรมการทำงาน การเรียนต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน มีแก็ดเจ็ตชิ้นนึงที่ค่อนข้างมีความสำคัญในการใช้งานควบคู่กันเพื่อให้กิจกรรมการทำงานต่าง ๆ ของผู้ใช้งานลื่นไหลมากยิ่งขึ้น ซึ่งก็คือ “แฟลชไดร์ฟ” สำหรับจัดเก็บ ส่งต่อ โอนถ่ายไฟล์ข้อมูลต่าง ๆ นั่นเองซึ่งมีมากมายหลายแบบอย่างเช่น Wooden Usb, Leather Usb, Card Usb เป็นต้น และบ่อยครั้งการใช้งานแฟลชไดร์ฟสำหรับกิจกรรมการทำงาน การเรียนต่าง ๆ
เช็คลิสต์ สิ่งที่ไม่ควรทำ ในการใช้งานแฟลชไดร์ฟ Type C
เมื่อพูดถึงแก็ดเจ็ตเสริมสำหรับใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ไอที เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต แล็ปท็อป ในปัจจุบัน ก็แน่นอนมีแก็ดเจ็ตชิ้นนึงที่ได้รับความนิยมใช้งานมากขึ้นเรื่อย ๆ นั่นก็คือแฟลชไดร์ฟซึ่งมีหลากหลายแบบมากมายเช่น wooden usb, metal usb, leather usb หรือแฟลชไดร์ฟ Type C แฟลชไดร์ฟที่มีพอร์ตเชื่อมต่อแบบ USB-C นั่นเอง ทั้งนี้เดิมทีแล้วแก็ดเจ็ตชิ้นดังกล่าวถือว่าเป็นไอเทมที่ผู้ใช้งานอุปกรณ์ไอทีรู้จักคุ้นเคยกันเป็นอย่างดีอยู่แล้ว แต่พอร์ตเชื่อมต่อมาตรฐานที่ติดมากับตัวแก็ดเจ็ตเป็นเวลานานนับสิบปีนั้นจะเป็นพอร์ต USB Type A
5 เหตุผล ที่ทำให้แฟลชไดร์ฟ Type C ได้รับความนิยมมากกว่าพอร์ตไทป์อื่น ๆ
อย่างที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าแฟลชไดร์ฟ ถือเป็นแก็ดเจ็ตจัดเก็บข้อมูลชิ้นนึงที่ชาวไอทีจำนวนมากใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ หรือแล็ปท็อปมาเป็นเวลานานแล้ว ก่อนที่ในช่วงหลัง ๆ กระแสความนิยมในการใช้งานแก็ดเจ็ตชิ้นนี้จะลดน้อยถอยลงไป เนื่องจากผู้ใช้สามารถใช้ทางเลือกการจัดเก็บข้อมูลแบบอื่น ๆ ทดแทนได้ เช่น การใช้ฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟแบบพกพา การจัดเก็บบนระบบคลาวด์ออนไลน์ เป็นต้น อย่างไรก็ตามในช่วง 1-2 ปีหลังนี้ บรรดาผู้ผลิตแก็ดเจ็ตรายต่าง ๆ ได้พากันพัฒนาแฟลชไดร์ฟให้มีสเปคที่ทันยุคทันสมัยมากขึ้นมีหลากหลายแบบมากขึ้น
เทคนิคจัดกลุ่มไฟล์ 5 ประเภท บนแฟลชไดร์ฟ ให้ใช้งานง่าย ไม่เสียเวลาค้นหา
อย่างที่ทราบกันดีว่าแฟลชไดร์ฟนั้นเป็นแก็ดเจ็ตชิ้นนึงที่ผู้ใช้งานอุปกรณ์ไอทีหลายคนเลือกใช้เป็นตัวช่วยในการจัดเก็บ บันทึกไฟล์ดิจิทัลต่างๆ มีหลากหลายแบบอย่างเช่น card usb, metal usb, pen usb เป็นต้นซึ่งรูปแบบการใช้งานนั้นก็มีหลากหลาย แตกต่างกันไปตามบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการใช้จัดเก็บในรูปแบบของการแบ็คอัพไว้เพื่อป้องกันไฟล์สูญหายจากอุปกรณ์อื่นๆ การใช้งานเป็นพื้นที่จัดเก็บไฟล์หลัก เสมือนเป็น Device ชิ้นนึง สำหรับแบ่งไฟล์ข้อมูลต่างๆ จากอุปกรณ์อื่นๆมาจัดเก็บไว้
5 ประโยชน์ของแฟลชไดร์ฟ ในยุคดิจิทัลไลฟ์สไตล์ที่หลายคนมองข้ามไป
เมื่อพูดถึงการใช้งานแฟลชไดร์ฟในปัจจุบัน ก็แน่นอนว่าผู้ใช้งานหลายคนทราบกันดีอยู่แล้วว่าเป็นแก็ดเจ็ตชิ้นนึงที่มีประโยชน์ในการช่วยจัดเก็บ บันทึกไฟล์ข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงใช้เป็นตัวช่วยในการโอนถ่ายไฟล์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ แต่ขณะเดียวผู้ใช้งานหลายคนก็มองว่าในยุคสมัยปัจจุบันนี้ไม่มีความจำเป็นที่ต้องใช้งาน หรือพึ่งพาแก็ดเจ็ตชิ้นนี้สักเท่าไหร่ เพราะมีตัวเลือกบริการจัดการข้อมูลแบบอื่น ๆ ที่สามารถทดแทนกันได้ เช่น ระบบคลาวด์ หรือการใช้พื้นที่ความจำของอุปกรณ์พกพาแทน เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต เป็นต้น
แฟลชไดร์ฟ ที่ฉันซื้อมา ปลอม หรือ แท้ ?
แฟลชไดร์ฟ อุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ถูกทำสินค้าเลียนแบบมาอย่างยาวนาน ที่ถึงแม้ว่ายุคปัจจุบันมันจะเป็นอุปกรณ์ที่ผลิตได้ง่าย มีราคาถูก หาซื้อได้ง่ายมากกว่าในอดีตมีหลากหลายแบบมากมายไม่ว่าจะเป็น wooden usb, matal usb, twister usb, recycle usbเป็นต้น แต่ถึงอย่างไรสินค้าปลอมก็ยังคงมีอยู่เกลื่อนตลาดทุกยุคทุกสมัย ซึ่งวันนี้เราจะพาคุณผู้อ่านมาตรวจดูกันว่า แฟลชไดร์ฟ ที่คุณครอบครองอยู่หรือเพิ่งซื้อมานั้น เป็นของแท้จริงหรือไม่ ?
ไขข้อข้องใจ ใช้แฟลชไดร์ฟบนสมาร์ทโฟน-ไอแพด ปลอดภัยหรือไม่ ?
หากพูดถึงการใช้งานแก็ดเจ็ตสำหรับบันทึกไฟล์ข้อมูลต่าง ๆ อย่างแฟลชไดร์ฟ ก็แน่นอนว่าในปัจจุบันนี้มีออกมาหลายหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็น wooden usb,crystal usb,recycle usb,card usb เป็นต้น นอกจากนี้ในปัจจุบันการใช้งานไม่จำกัดอยู่แค่เพียงบนคอมพิวเตอร์ หรือแล็ปท็อปเท่านั้น แต่ผู้ใช้งานหลายคนยังมีการใช้งานเชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟน ไอแพด หรือแท็บเล็ตแบรนด์ต่าง ๆ อีกด้วย เนื่องจากอุปกรณ์พกพาเหล่านี้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของผู้ใช้งานส่วนใหญ่มากขึ้น และกิจกรรมดิจิทัลไลฟ์สไตล์หลาย ๆ
เปรียบเทียบการทำงาน แฟลชไดร์ฟกับระบบคลาวด์
หากเราย้อนกลับไปประมาณ 10 ถึง 20 ปีที่แล้ว เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการเก็บข้อมูล หรือการบันทึกข้อมูลยอดนิยมที่ผู้คนมักจะจะใช้กัน เราก็น่าจะนึกถึงอุปกรณ์แฟลชไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์แรก เรียกได้ว่าอุปกรณ์แฟลชไดร์ฟ ถือเป็นอุปกรณ์สามัญและติดตัวสำหรับใครหลายคน นักเรียนนักศึกษา หรือจะเป็นคนที่ทำงานล้วนแต่ใช้แฟลชไดร์ฟ ถือว่าอุปกรณ์ชิ้นนี้เป็นอุปกรณ์ที่เราขาดไม่ได้ ไม่ว่าจะในกรณีใดก็ตามในยุคนั้นยังมีแฟลชไดร์ฟแค่ไม่กี่รูปแบบไม่ว่าจะเป็น CLASSIC USB , METAL USB
ตัวการทำลาย แฟลชไดร์ฟ ให้ชำรุดนั้นมีอะไรบ้า
การเก็บรักษา แฟลชไดร์ฟ นั้นเป็นเรื่องที่สำคัญสำหรับผู้ที่มีข้อมูลจำนวนมากหรือมีข้อมูลที่ต้องการเก็บไว้อย่างยาวนาน แต่บางทีข้อมูลเหล่านั้นก็อาจสูญหายได้ จากสาเหตุที่คาดไม่ถึง อันส่งผลให้ แฟลชไดร์ฟ เกิดการชำรุดได้ซึ่งสาเหตุต่าง ๆ ที่สามารถทำให้ แฟลชไดร์ฟ เกิดการชำรุดได้นั้นมีอะไรบ้าง เรามาดูกันเลยแฟลชไดร์ฟ ชำรุดจากการเปียกหรือชื้นน้ำและความชื้นคือสาเหตุยอดนิยมที่พบเจอได้บ่อยมากโดยเฉพาะการเผชิญกับสภาพอากาศในวันฝนตก หรือต้องเปียกปอนจากการทำงานบ้าน โดยที่ยังพกพา แฟลชไดรฟ์ ติดตัวอยู่
เช็คลิสต์สิ่งที่ควรทำ/ไม่ควรทำ เมื่อเปิดไฟล์ในแฟลชไดร์ฟไม่ได้
แฟลชไดร์ฟมีหลายรูปแบบมากมาย ทั้งแบบ card usb, wooden usb, metal usb เป็นต้น ในการใช้งานแฟลชไดร์ฟสำหรับบันทึกข้อมูล โอนถ่ายไฟล์ดิจิทัลต่างๆ นั้น ผู้ใช้งานหลายคนคงทราบกันดีว่ามีหนึ่งในปัญหากวนใจที่มักจะเกิดขึ้นแบบที่เราไม่ทันตั้งตัว ซึ่งก็คือปัญหาการเปิดไฟล์ใด ๆ ที่เราบันทึกไว้ในแฟลชไดร์ฟเพื่ออ่าน หรือคัดลอก ส่งต่อไม่ได้นั่นเอง และแม้ว่าผู้ใช้งานส่วนใหญ่จะทราบดีว่าควรต้องสำรองไฟล์ข้อมูลนั้น ๆ ไว้บนอุปกรณ์อื่นก่อนทำการบันทึกลงแฟลชไดร์ฟ
เหตุผลที่ไม่ควรเลือกใช้ แฟลชไดร์ฟที่มีขนาดความจุสูง
ในการใช้งานแก็ดเจ็ตจัดเก็บข้อมูลพกพาอย่างแฟลชไดร์ฟนั้น ปัจจุบันนี้ผลิตออกมาหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นแบบ card usb, rubber usb, pen usb, metal usb ความจุที่เพิ่มมากขึ้น ผู้ใช้งานหลายคนมักเข้าใจว่ายิ่งมีขนาดความจุสูงเท่าไหร่ก็ยิ่งดี เพราะจะทำให้สามารถจัดเก็บข้อมูลได้เยอะ สามารถใช้งานโอนถ่ายไฟล์ขนาดใหญ่ ๆ ได้ ซึ่งปัจจุบันนี้แบรนด์ผู้ผลิตเจ้าต่าง ๆ ก็ดูจะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน ด้วยการผลิตแฟลชไดร์ฟที่มีขนาดความจุสูงถึงระดับเทราไบต์ หรือกว่า 1,000 เมกะไบต์ ออกมาวางจำหน่าย