เปรียบเทียบอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลฮาร์ดดิสก์, SSD และแฟลชไดร์ฟ มีประโยชน์การใช้งาน และข้อดีข้อเสียต่างกันอย่างไร ?
เทคโนโลยีจัดเก็บไฟล์ข้อมูลถือได้ว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาควบคู่กับการใช้งานอุปกรณ์ไอทีอย่างคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือโน๊ตบุ๊คที่หลายคนคุ้นเคยกันดี เรียกได้ว่าเป็นส่วนสำคัญที่สุดส่วนหนึ่งในการใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อกิจกรรมต่างๆ
วิธีตรวจเช็คสเปคแฟลชไดร์ฟ ให้ได้แบบที่ตอบโจทย์ความต้องการใช้งานมากที่สุด
ในการเลือกซื้ออุปกรณ์ไอทีต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ แล็ปท็อป สมาร์ทโฟน แน่นอนว่าหลายคนทราบดีอยู่แล้วว่าสิ่งสำคัญก็คือการตรวจเช็คสเปค หรือคุณสมบัติของอุปกรณ์นั้น ๆ ว่ามีความเหมาะสมกับความต้องการใช้งานของเราหรือไม่ ตัวอย่างเช่น การเช็คพื้นที่จัดเก็บข้อมูล(Rom) ว่ามีขนาดเท่าไหร่ ชนิดของชิป CPU หรือความเร็วของชิป ขนาดของหน่วยความจำแบบสุ่ม(Ram) เป็นต้น ซึ่งสเปคเหล่านี้จะสามารถบอกได้ว่าอุปกรณ์นั้นๆ
ตรวจสอบไวรัสในแฟลชไดร์ฟของคุณ
แฟลชไดร์ฟ (Flash Drive) เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบพกพาที่มีความสามารถในการเก็บข้อมูลให้กับผู้ใช้งานในรูปแบบของไฟล์ต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ซึ่งเป็นที่นิยมในการถ่ายโอนข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย นอกจากนี้แฟลชไดร์ฟยังง่ายต่อการพกพาติดตัวไปได้ทุกที่ เช่น แฟลชไดร์ฟปากกา แฟลชไดร์ฟการ์ด และมีความทนทาน เช่น แฟลชไดร์ฟโลหะ แฟลชไดร์ฟ
OTG คืออะไร? จำเป็นต่อการใช้งานแฟลชไดร์ฟ Type-C อย่างไร
เป็นที่ทราบกันดีว่าปัจจุบันแก็ดเจ็ตจัดเก็บข้อมูลพกพาอย่างแฟลชไดร์ฟได้พัฒนามาถึงจุดที่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์พกพาอย่างโทรศัพท์ หรือแท็บเล็ตได้โดยตรงแล้ว ทำให้ผู้ใช้งานได้รับความสะดวกในการถ่ายโอนข้อมูลระหว่างอุปกรณ์มากขึ้น จากเดิมที่ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา การถ่ายโอนข้อมูลแบบออฟไลน์ต้องอาศัยตัวกลางเป็นอุปกรณ์ขนาดใหญ่อย่างคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ หรือแล็ปท็อป กล่าวคือหากต้องการถ่ายโอนข้อมูล